ดาวเสาร์






ดาวเสาร์ (อังกฤษ: Saturn) เป็นตัวแทนของเทพแซทเทิร์น (Saturn) เทพแห่งการเพาะปลูกในตำนานของชาวโรมัน ส่วนในตำนานกรีกมีชื่อว่า โครนอส (Cronos) ซึ่งเป็นบิดาแห่งซูส (Zeus) เทพแห่งดาวพฤหัสบดี โดยดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 6 ที่ระยะทาง 1,433 ล้านกิโลเมตร จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในระบบสุริยะรองจากดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์มีวงแหวนขนาดใหญ่ ที่ประกอบขึ้นจากก้อนหินที่มีน้ำแข็งปะปน สัญลักษณ์แทนดาวเสาร์ คือ ♄
ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้ำ (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปด้วย เศษหินและน้ำแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสังเกตได้จากโลก
ลักษณะเฉพาะทางกายภาพ
ดาวเสาร์มีรูปร่างป่องออกตามแนวเส้นศูนย์สูตร ที่เรียกว่าทรงกลมแป้น (oblate spheroid) เส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขั้วสั้นกว่าตามแนวเส้นศูนย์สูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตัวเองอย่างรวดเร็ว ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ก็มีลักษณะเป็นทรงกลมแป้นเช่นกัน แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะ ที่มีความหนาแน่นเฉลี่ยน้อยกว่าน้ำ (0.70 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) อย่างไรก็ตาม บรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นน้อยกว่านี้ ขณะที่ที่แกนมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปด้วย เศษหินและน้ำแข็งขนาดเล็ก เรียงตัวอยู่ในระนาบเดียวกัน และวงแหวนของดาวเสาร์ก็ประกอบไปด้วย วงแหวนย่อยๆมากมาย ความจริงแล้ววงแหวนดาวเสาร์นั้นบางมาก โดยมีความหนาเฉลี่ยเพียง 500 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เศษวัตถุในวงแหวนมีความสามารถในการสะท้อนแสงดี และกว้างกว่า 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสังเกตได้จากโลก
ในทางดาราศาสตร์ จุดปลายระยะทางวงโคจร (อังกฤษ: apsis) หมายถึง จุดในวงโคจรของวัตถุที่อยู่ใกล้ที่สุดหรือไกลที่สุดจากจุดศูนย์กลางมวลที่มันโคจรรอบ
จุดที่เคลื่อนเข้าไปใกล้จุดศูนย์กลางมวลมากที่สุด เรียกว่า จุดใกล้ที่สุด (periapsis หรือ pericentre) จุดที่เคลื่อนออกไปไกลที่สุดเรียกว่า จุดไกลที่สุด (apoapsis, apocentre หรือ apapsis) เส้นตรงที่ลากจากจุดใกล้ที่สุดไปยังจุดไกลที่สุด เรียกว่า line of apsides ซึ่งก็คือแกนเอกของวงรี หรือเส้นที่ยาวที่สุดภายในวงรีนั่นเอง
นอกจากนี้มีคำศัพท์เฉพาะอื่นๆ ที่ใช้เรียกจุดใกล้ที่สุดหรือจุดไกลที่สุดในการโคจรรอบเทหวัตถุบางชนิด จุดใกล้ที่สุดและจุดไกลที่สุดในการโคจรรอบโลก เรียกว่า perigee และ apogee ตามลำดับ จุดใกล้ที่สุดและจุดไกลที่สุดในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ เรียกว่า perihelion และ aphelion ตามลำดับจุดปลายระยะทางวงโคจร
ในทางดาราศาสตร์ จุดปลายระยะทางวงโคจร (อังกฤษ: apsis) หมายถึง จุดในวงโคจรของวัตถุที่อยู่ใกล้ที่สุดหรือไกลที่สุดจากจุดศูนย์กลางมวลที่มันโคจรรอบ
จุดที่เคลื่อนเข้าไปใกล้จุดศูนย์กลางมวลมากที่สุด เรียกว่า จุดใกล้ที่สุด (periapsis หรือ pericentre) จุดที่เคลื่อนออกไปไกลที่สุดเรียกว่า จุดไกลที่สุด (apoapsis, apocentre หรือ apapsis) เส้นตรงที่ลากจากจุดใกล้ที่สุดไปยังจุดไกลที่สุด เรียกว่า line of apsides ซึ่งก็คือแกนเอกของวงรี หรือเส้นที่ยาวที่สุดภายในวงรีนั่นเอง
นอกจากนี้มีคำศัพท์เฉพาะอื่นๆ ที่ใช้เรียกจุดใกล้ที่สุดหรือจุดไกลที่สุดในการโคจรรอบเทหวัตถุบางชนิด จุดใกล้ที่สุดและจุดไกลที่สุดในการโคจรรอบโลก เรียกว่า perigee และ apogee ตามลำดับ จุดใกล้ที่สุดและจุดไกลที่สุดในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ เรียกว่า perihelion และ aphelion ตามลำดับ
ระยะกึ่งแกนเอก ในทางเรขาคณิต หมายถึงความยาวครึ่งหนึ่งของแกนเอก ซึ่งใช้แสดงถึงมิติของวงรีหรือไฮเพอร์โบลา

วงแหวนของดาวเสาร์


ภาพถ่ายคราสดาวเสาร์บังดวงอาทิตย์ จากยานคาสสินี-ไฮเกนส์ เมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 2006
ดาวเสาร์ เป็นดาวเคราะห์ที่มีระบบวงแหวนดาวเคราะห์ขนาดใหญ่มากกว่าดาวเคราะห์อื่นในระบบสุริยะ วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กจำนวนมากนับไม่ถ้วน ที่มีขนาดตั้งแต่ไม่กี่ไมโครเมตรไปจนถึงหลายเมตร กระจุกตัวรวมกันอยู่และโคจรไปรอบๆ ดาวเสาร์ อนุภาคในวงแหวนส่วนใหญ่เป็นน้ำแข็ง มีบางส่วนที่เป็นฝุ่นและสสารอื่น
วงแหวนของดาวเสาร์ช่วยสะท้อนแสง ทำให้มองเห็นความสว่างของดาวเสาร์เพิ่มมากขึ้น แต่เราไม่สามารถมองเห็นวงแหวนเหล่านี้ได้ด้วยตาเปล่า ในปี ค.ศ. 1610 ซึ่งกาลิเลโอเริ่มใช้กล้องโทรทรรศน์ในการสำรวจท้องฟ้า เขาเป็นกลุ่มคนยุคแรกๆ ที่พบและเฝ้าสังเกตวงแหวนของดาวเสาร์ แม้จะมองไม่เห็นลักษณะอันแท้จริงของมันได้อย่างชัดเจน ปี ค.ศ. 1655 คริสเตียน ฮอยเกนส์ เป็นผู้แรกที่สามารถอธิบายลักษณะของวงแหวนว่าเป็นแผนจานวนรอบๆ ดาวเสาร์[1]
มีแถบช่องว่างระหว่างวงแหวนอยู่หลายช่อง ในจำนวนนี้มีอยู่ 2 แถบที่มีดวงจันทร์แทรกอยู่ ช่องอื่นๆ อีกหลายช่องอยู่ในตำแหน่งการสั่นพ้องของวงโคจรกับดวงจันทร์ของดาวเสาร์ และยังมีอีกหลายช่องที่ยังหาคำอธิบายไม่ได้
ดาวเสาร์เป็นลูกทำขึ้นเกือบทั้งหมดของไฮโดรเจนและฮีเลียม การเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นและอุณหภูมิที่อยู่ลึกเข้าไปในโลกที่คุณจะไป แต่ดาวเสาร์ไม่สามารถกล่าวว่าจะมีพื้นผิวที่มั่นคง ถ้าคุณพยายามที่จะเดินไปบนพื้นผิวของดาวเสาร์ที่คุณจะตกอยู่ในโลกที่ความ ทุกข์ทรมานอุณหภูมิที่สูงขึ้นและแรงกดดันจนกว่าคุณจะถูกบดภายในดาวเคราะห์

นอกจากนี้คุณยังสามารถตรวจสอบกล้องโทรทรรศน์เย็นเหล่านี้ที่จะช่วยให้คุณเห็นความงามของดาวเคราะห์ดาวเสาร์
แต่ดาวเสาร์ดูเหมือนจะมีพื้นผิวดังนั้นสิ่งที่เรากำลังมองหาที่ บรรยากาศด้านนอกของดาวเสาร์ประกอบด้วยไฮโดรเจน 93% โมเลกุลและส่วนที่เหลือฮีเลียมที่มีการติดตามปริมาณของแอมโมเนียอ​​ะเซทิลี นอีเทนฟอสฟีนและมีเทน มันเหล่านี้ติดตามปริมาณที่สร้างวงดนตรีที่มองเห็นและเมฆที่เราเห็นในภาพของดาวเสาร์
เป็นส่วนหนึ่งของดาวเคราะห์ที่ -- มีสามภูมิภาคหลักใน troposphere ของดาวเสาร์มี สภาพอากาศ เป็นจริงที่เกิดขึ้น ทั้งสามภูมิภาคมีการกำหนดไว้อย่างสมบูรณ์โดยอุณหภูมิซึ่งหยดน้ำกลั่นตัวเป็นไอและรูปแบบของเมฆ ดาดฟ้าชั้นเมฆที่มองเห็นได้ถูกสร้างขึ้นจากเมฆแอมโมเนียและสามารถพบได้ ประมาณ 100 กม. ด้านล่างด้านบนของ troposphere ที่อยู่ในพื้นที่ที่เรียกว่า tropopause ด้านล่างที่ชั้นเมฆที่สองของแอมโมเนียม hydrosulphide เมฆเป็น และด้านล่างที่ที่มีอุณหภูมิอยู่ที่ 0 องศา C, มีเมฆของมี น้ำ .
ของหลักสูตรที่คุณไม่สามารถยืนบนพื้นผิวของดาวเสาร์ แต่หากคุณสามารถที่คุณจะมีประสบการณ์เกี่ยวกับ 91% ของ โลก แรงโน้มถ่วง's ในคำอื่น ๆ ถ้าระดับห้องน้ำของคุณบอกว่า 100 กก. บนโลกก็เพียงจะบอกว่า 91 กิโลกรัมเกี่ยวกับดาวเสาร์

สังเกตระยะยาวเปิดเผยรูปแบบในบรรยากาศของดาวเสาร์


การอ่านสิ่งที่ต้องการนี​​้ทำให้ฉันมีความหวังว่าเราไม่ได้อยู่ในขั้นตอนที่ ทารกของความเข้าใจของเราของระบบสุริยะของเรา : เราได้รับผู้ป่วยและการสังเกตในขณะที่การเจริญเติบโตในความรู้ของเรา นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบรูปแบบของคลื่นหรือการสั่นใน ดาวเสาร์ บรรยากาศ's เท่านั้นที่มองเห็นจาก โลก ทุก 15 ปี การค้นพบนี้ถูกสร้างขึ้นเพียงเพราะเราได้รับการศึกษาดาวเสาร์จากกล้องโทรทรรศน์จากพื้นดินประมาณ 22 ปี ร่วมกับการสังเกตของยานแคสสินีของการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในบรรยากาศของดาวเคราะห์ยักษ์มากกว่า เวลาที่ เรากำลังดึงดูดความเข้าใจที่ดีของดาวเสาร์และการค้นพบไม่เพียง แต่วิธีที่ไม่ซ้ำกันมันเป็น แต่ยังว่าดาวเสาร์มีบางสิ่งบางอย่างในการร่วมกันกับโลก ดาวเคราะห์ของเราเองมีการแกว่งเหล่านี้มากเกินไปและเพื่อไม่จูปีเตอร์ "คุณเท่านั้นที่จะทำให้การค้นพบนี้โดยการสังเกตดาวเสาร์ในช่วงเวลาที่ยาวนาน ของเวลา,"เกล็น Orton, จาก JPL ผู้เขียนนำของการศึกษาภาคพื้นดินกล่าวว่า "มันก็เหมือนกับการวางกัน 22 ปีมูลค่าของชิ้นส่วนปริศนา, ที่เก็บรวบรวมโดยความร่วมมือรางวัลมหาศาลของนักเรียนและนักวิทยาศาสตร์จาก ทั่วโลกในกล้องโทรทรรศน์ต่างๆ."

ภาพข้างบนจะแสดงระลอกรูปแบบที่กลับมาเหมือนคลื่นในบรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์ ในภูมิภาคนี้อุณหภูมิที่เปลี่ยนจากระดับความสูงที่ถัดไปในลูกอมอ้อยเหมือนลายรูปแบบร้อนเย็น อุณหภูมิที่"บันทึก"ดังแสดงในทั้งสองจับภาพสองขั้นตอนที่แตกต่างกันของการ สั่นของคลื่นนี้ : อุณหภูมิที่สวิทช์ของดาวเสาร์เส้นศูนย์สูตรจากร้อนไปเย็นและอุณหภูมิในด้าน ของการสลับเส้นศูนย์สูตรจากเย็นไปร้อนทั้งดาวเสาร์ทุกครึ่งปี
ภาพบนซ้ายจะถูกนำมาในปี 1997 และแสดงให้เห็นถึงอุณหภูมิที่เส้นศูนย์สูตรจะเย็นกว่าอุณหภูมิที่ 13 องศาละติจูดใต้ ตรงกันข้ามภาพบนขวาถ่ายในปี 2006 ที่แสดงให้เห็นอุณหภูมิที่เส้นศูนย์สูตรเป็นที่อบอุ่น
ผลลัพธ์ที่ได้จากกล้องอินฟราเรดของแคสสินีแสดงให้เห็นว่าคลื่นของดาวเสาร์จะ คล้ายกับรูปแบบที่พบในบรรยากาศชั้นบนของโลกซึ่งใช้เวลาประมาณสองปี รูปแบบคล้ายกับดาวพฤหัสบดีใช้เวลากว่าสี่ปีโลก การค้นพบดาวเสาร์ใหม่เพิ่มการเชื่อมโยงทั่วไปที่สามดาวเคราะห์
นักวิทยาศาสตร์หวังว่าแคสสินีจะหาว่าทำไมปรากฏการณ์นี้เกี่ยวกับการเปลี่ยน แปลงของดาวเสาร์กับฤดูกาลและทำไมการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิที่เกิดขึ้นเมื่อ ดวงอาทิตย์ อยู่ตรงเหนือเส้นศูนย์สูตรของดาวเสาร์
ดาวเสาร์มีดวงจันทร์ซึ่งได้รับการยืนยันวงโคจรแล้ว 60 ดวง โดย 53 ดวงในจำนวนนี้มีชื่อเรียกแล้วและส่วนใหญ่มีขนาดค่อนข้างเล็ก แต่ก็มีอยู่ 7 ดวงที่มีขนาดใหญ่พอที่จะคงสภาพตัวเองเป็นทรงกลมได้ (ดังนั้นดวงจันทร์เหล่านี้อาจได้รับการจัดเป็นดาวเคราะห์แคระหากพวกมันโคจรรอบดวงอาทิตย์โดยตรง) นอกจากจะมีวงแหวนที่กว้างและหนาแน่นแล้ว ระบบดาวเสาร์ยังเป็นระบบดาวเคราะห์ที่มีความหลากหลายมากที่สุดภายในระบบสุริยะอีกด้วย ตัวอย่างเช่น ดวงจันทร์ที่มีชื่อเสียงอย่างดวงจันทร์ไททัน ที่มีชั้นบรรยากาศคล้ายคลึงกับโลก ทั้งยังมีภูมิทัศน์เป็นทะเลสาบไฮโดรคาร์บอนและโครงข่ายแม่น้ำ และดวงจันทร์เอนเซลาดัสที่ซ่อนแหล่งน้ำไว้ภายใต้พื้นผิวของมัน เป็นต้น
ดวงจันทร์ 22 ดวงของดาวเสาร์เป็นบริวารที่มีวงโคจรปกติ คือ มีวงโคจรไปในทางเดียวกับดาวดวงอื่น ๆ และเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรของดาวเสาร์ไม่มากนัก นอกจากบริวาร 7 ดวงหลักแล้ว มี 4 ดวงเป็นดวงจันทร์โทรจัน (หมายถึงกลุ่มดวงจันทร์เล็ก ๆ ที่โคจรไปตามเส้นทางของดวงจันทร์ดวงใหญ่กว่าอีกดวงหนึ่ง) อีก 2 ดวงเป็นดวงจันทร์ร่วมวงโคจร และอีก 2 ดวงโคจรอยู่ภายในช่องว่างระหว่างวงแหวนดาวเสาร์ ดวงจันทร์เหล่านี้ได้รับการตั้งชื่อตามธรรมเนียมเดิม คือ ตามชื่อของบรรดายักษ์ไททันหรือบุคคลอื่น ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับเทพแซตเทิร์นของชาวโรมัน (หรือเทพโครนัสของกรีก)
ส่วนดวงจันทร์ที่เหลืออีก 38 ดวง ทั้งหมดมีขนาดเล็กและมีวงโคจรผิดปกติ คือ มีวงโคจรอยู่ห่างจากดาวเสาร์มากกว่า เอียงมากกว่า โดยมีทั้งไปทางเดียวกันและสวนทางกับทิศทางการหมุนรอบตัวเองของดาวเสาร์ ดวงจันทร์เหล่านี้อาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ถูกแรงโน้มถ่วงของดาวเสาร์ดึงมา หรืออาจเป็นเศษซากของวัตถุขนาดใหญ่ที่เข้าใกล้ดาวเสาร์มากเกินไปจนถูกแรงน้ำขึ้นน้ำลงของดาวเสาร์ฉีกออกเป็นเสี่ยง ๆ เราแบ่งกลุ่มของพวกมันตามลักษณะวงโคจรได้เป็นกลุ่มอินูอิต กลุ่มนอร์ส และกลุ่มแกลิก แต่ละดวงตั้งชื่อตามเทพปกรณัมที่สอดคล้องกับกลุ่มที่มันสังกัดอยู่
วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบขึ้นจากก้อนน้ำแข็งที่มีขนาดตั้งแต่ 1 เซนติเมตรไปจนถึงหลายร้อยเมตร แต่ละก้อนโคจรรอบดาวเสาร์ไปตามเส้นทางของตนเอง ดังนั้น เราจึงไม่สามารถระบุจำนวนแน่นอนของดวงจันทร์ของดาวเสาร์ได้ เนื่องจากไม่มีเส้นแบ่งประเภทชัดเจนระหว่างวัตถุขนาดเล็กจำนวนมากที่ประกอบขึ้นเป็นแถบวงแหวนกับวัตถุขนาดใหญ่ที่ได้รับการตั้งชื่อและถือเป็นดวงจันทร์แล้ว แม้เราจะค้นพบ "ดวงจันทร์เล็ก ๆ" (moonlets) อย่างน้อย 150 ดวงจากการรบกวนที่มันก่อขึ้นกับวัตถุอื่นที่อยู่ข้างเคียงภายในวงแหวน แต่นั่นเป็นตัวอย่างเพียงน้อยนิดของจำนวนประชากรทั้งหมดของวัตถุเหล่านั้นเท่านั้น
ดวงจันทร์ที่ได้รับการยืนยันแล้วจะได้รับการตั้งชื่อถาวรจากสหภาพดาราศาสตร์สากล ประกอบด้วยชื่อและลำดับที่เป็นตัวเลขโรมัน ดวงจันทร์ 9 ดวงที่ถูกค้นพบก่อนปี ค.ศ. 1900 (ซึ่งฟีบีเป็นดวงเดียวที่มีวงโคจรแบบผิดปกติ) มีหมายเลขเรียงตามระยะห่างจากดาวเสาร์ออกมา ส่วนดวงจันทร์ดวงอื่น ๆ มีหมายเลขเรียงตามลำดับที่ได้รับการตั้งชื่อถาวร อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ยังมีดวงจันทร์ดวงเล็ก ๆ ในกลุ่มนอร์สอีก 8 ดวงที่ไม่มีชื่อเรียกถาวร

ระบบดาวเสาร์ (ภาพประกอบรวม)
ตารางรายชื่อดวงจันทร์
ลำดับชื่อ (ตัวหนาคือดวงจันทร์ที่มีลักษณะทรงกลม)ภาพเส้นผ่านศูนย์กลาง
(ก.ม.)
กึ่งแกนเอก
(ก.ม.)
คาบดาราคติ
(วัน)
ความเอียงของวงโคจร
(°)
ตำแหน่งปีที่ค้นพบ
0(ดวงจันทร์เล็ก ๆ)moonlets
First moonlets PIA07792 (closeup).jpg
0.04 ถึง 0.5~130 000ภายในวงแหวนเอ2006[1][2][3]
1XVIIIแพนPan
Pan side view.jpg
30 (35 × 35 × 23) [4]133 584 [5]+0.575 05 [5]0.001°ในช่องแบ่งเองเคอ1990
2XXXVแดฟนิสDaphnis
PIA06237.jpg
6 − 8136 505 [5]+0.594 08 [5]≈ 0°ในช่องว่างคีลเลอร์2005
3XVแอตลัสAtlas
Cassini Atlas N00084634 CL.png
31 (46 × 38 × 19) [4]137 670 [5]+0.601 69 [5]0.003°ควบคุมวงแหวนเอด้านนอก1980
4XVIโพรมีเทียสPrometheus
Prometheus moon.jpg
86 (119 × 87 × 61) [4]139 380 [5]+0.612 99 [5]0.008°ควบคุมวงแหวนเอฟด้านใน1980
5XVIIแพนดอราPandora
Pandora PIA07632.jpg
81 (103 × 80 × 64) [4]141 720 [5]+0.628 50 [5]0.050°ควบคุมวงแหวนเอฟด้านนอก1980
6XIเอพิมีเทียสEpimetheusPIA09813 Epimetheus S. polar region.jpg113 (135 × 108 × 105) [4]151 422 [5]+0.694 33 [5]0.335°มีวงโคจรร่วมกัน1980
7XเจนัสJanus
Janus moon.jpg
179 (193 × 173 × 137) [4]151 472 [5]+0.694 66 [5]0.165°1966
8IไมมัสMimas
Mimas moon.jpg
397 (415 × 394 × 381) [6]185 404 [7]+0.942 422 [8]1.566°1789
9XXXIIมีโทนีMethone
Methone (frame 15).jpg
3194 440 [5]+1.009 57 [5]0.007°(แอลไคโอนีเดส)2004
10XLIXแอนทีAnthe
S2007 S 4 PIA08369.gif
~2197 700+1.036 500.1°2007
11XXXIIIพาลลีนีPallene
S2004s2 040601.jpg
4212 280 [5]+1.153 75 [5]0.181°2004
12IIเอนเซลาดัสEnceladus504 (513 × 503 × 497) [6]237 950 [7]+1.370 218 [8]0.010°ควบคุมวงแหวนอี1789
13IIIทีทิสTethys
Tethys PIA07738.jpg
1066 (1081 × 1062 × 1055) [6]294 619 [7]+1.887 802 [8]0.168°1684
13aXIIIเทเลสโตTelesto
Telesto cassini closeup.jpg
24 (29 × 22 × 20) [4]1.158°โทรจันที่โคจรนำหน้าทีทิส1980
13bXIVคาลิปโซCalypso
Calypso image PIA07633.jpg
21 (30 × 23 × 14) [4]1.473°โทรจันที่โคจรตามหลังทีทิส1980
16IVไดโอนีDione
Dione color.jpg
1123 (1128 × 1122 × 1121) [6]377 396 [7]+2.736 915 [8]0.002°1684
16aXIIเฮเลนีHelene
Cassini Helene N00086698 CL.jpg.jpg
33 (36 × 32 × 30)0.212°โทรจันที่โคจรนำหน้าไดโอนี1980
16bXXXIVพอลีดีวซีสPolydeuces
Polydeuces.jpg
3.5 [9]0.177°โทรจันที่โคจรตามหลังไดโอนี2004
19VเรียRhea
Rhea (moon) thumb.jpg
1529 (1535 × 1525 × 1526) [6]527 108 [10]+4.518 212 [10]0.327°1672
20VIไททันTitan
Titan in natural color Cassini.jpg
51511 221 930 [7]+15.945 420.3485°1655
21VIIไฮพีเรียนHyperion
Hyperion true.jpg
292 (360 × 280 × 225)1 481 010 [7]+21.276 610.568°1848
22VIIIไอแอพิตัสIapetus1472 (1494 × 1498 × 1425) [6]3 560 820+79.321 5 [11]7.570°1671
23XXIVคีเวียกKiviuq~1611 294 800 [10]+448.16 [10]49.087°กลุ่มอินูอิต2000
24XXIIอีเยรากIjiraq~1211 355 316 [10]+451.77 [10]50.212°2000
25IXฟีบีPhoebe
Phoebe cassini.jpg
220 (230 × 220 × 210)12 869 700−545.09[11][12]173.047°กลุ่มนอร์ส1899
26XXพอเลียกPaaliaq~2215 103 400 [10]+692.98 [10]46.151°กลุ่มอินูอิต2000
27XXVIIสกาทีSkathi~815 672 500 [10]−732.52 [8][12]149.084°กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2000
28XXVIแอลบีออริกซ์Albiorix~3216 266 700 [10]+774.58 [10]38.042°กลุ่มแกลิก2000
29S/2007 S 2~616 560 000−792.96176.68°กลุ่มนอร์ส2007
30XXXVIIเบวีนน์Bebhionn~617 153 520 [10]+838.77 [10]40.484°กลุ่มแกลิก2004
31XXVIIIแอร์รีแอปัสErriapus~1017 236 900 [10]+844.89 [10]38.109°2000
32XLVIIสกอลล์Skoll~617 473 800 [7]−862.37 [10]155.624°กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2006
33XXIXซีอาร์นากSiarnaq~4017 776 600 [10]+884.88 [10]45.798°กลุ่มอินูอิต2000
34LIIทาร์เคกTarqeq~717 910 600 [13]+894.86 [10]49.904°2007
35S/2004 S 13~618 056 300 [10]−905.85 [8][12]167.379°กลุ่มนอร์ส2004
36LIเกรปGreip~618 065 700 [7]−906.56 [10]172.666°2006
37XLIVฮีร็อกคินHyrrokkin~818 168 300 [7]−914.29 [10]153.272°กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2006
38Lยาร์นแซกซาJarnsaxa~618 556 900 [7]−943.78 [10]162.861°กลุ่มนอร์ส2006
39XXIทาร์วัสTarvos~1518 562 800 [10]+944.23 [10]34.679°กลุ่มแกลิก2000
40XXVมูนดิลแฟรีMundilfari~718 725 800 [10]−956.70 [8][12]169.378°กลุ่มนอร์ส2000
41S/2006 S 1~618 930 200 [7]−972.41 [10]154.232°กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2006
42S/2004 S 17~419 099 200 [10]−985.45 [8][12]166.881°กลุ่มนอร์ส2004
43XXXVIIIแบร์เยลมีร์Bergelmir~619 104 000 [10]−985.83 [8][12]157.384°กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2004
44XXXIนาร์วีNarvi~719 395 200 [10]−1008.45 [8][12]137.292°กลุ่มนอร์ส
(นาร์วี)
2003
45XXIIIซูตทุงการ์Suttungr~719 579 000 [10]−1022.82 [8][12]174.321°กลุ่มนอร์ส2000
46XLIIIฮาตีHati~619 709 300 [10]−1033.05 [8][12]163.131°2004
47S/2004 S 12~519 905 900 [10]−1048.54 [8][12]164.042°2004
48XLฟาร์เบาตีFarbauti~519 984 800 [10]−1054.78 [8][12]158.361°กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2004
49XXXทริมาร์Thrymr~720 278 100 [10]−1078.09 [8][12]174.524°กลุ่มนอร์ส2000
50XXXVIไอเออร์Aegir~620 482 900 [10]−1094.46 [8][12]167.425°2004
51S/2007 S 3~520 518 500~ −1100177.22°2007
52XXXIXเบสต์ลาBestla~720 570 000 [10]−1101.45 [8][12]147.395°กลุ่มนอร์ส
(นาร์วี)
2004
53S/2004 S 7~620 576 700 [10]−1101.99 [8][12]165.596°กลุ่มนอร์ส2004
54S/2006 S 3~621 076 300 [7]−1142.37 [10]150.817°กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2006
55XLIเฟนรีร์Fenrir~421 930 644 [10]−1212.53 [8][12]162.832°กลุ่มนอร์ส2004
56XLVIIIซัวร์เตอร์Surtur~622 288 916 [7]−1242.36 [10]166.918°2006
57XLVคารีKari~722 321 200 [7]−1245.06 [10]148.384°กลุ่มนอร์ส
(สกาที)
2006
58XIXอีมีร์Ymir~1822 429 673 [10]−1254.15 [8][12]172.143°กลุ่มนอร์ส2000
59XLVIลอยเอLoge~622 984 322 [7]−1300.95 [10]166.539°2006
60XLIIฟอร์นยอตFornjot~624 504 879 [10]−1432.16 [8][12]167.886°2004


อุณหภูมิ คือการวัดค่าเฉลี่ยของพลังงานจลน์ของอนุภาคในสสารใดๆ ซึ่งสอดคล้องกับความร้อนหรือเย็นของสสารนั้น
ในอดีตมีแนวคิดเกี่ยวกับอุณหภูมิเกิดขึ้นเป็น 2 แนวทาง คือตามแนวทางของหลักอุณหพลศาสตร์ และตามการอธิบายเชิงจุลภาคทางฟิสิกส์เชิงสถิติ อุณหพลศาสตร์นั้นเกี่ยวข้องกับการวัดในเชิงมหภาค ดังนั้นคำจำกัดความอุณหภูมิในเชิงอุณหพลศาสตร์ในเบื้องแรก ซึ่งกำหนดขึ้นโดยลอร์ดเคลวิน จึงระบุเกี่ยวกับค่าตัวแปรต่างๆ ที่สามารถตรวจวัดได้จากการสังเกต ส่วนฟิสิกส์สถิติจะให้ความเข้าใจในเชิงลึกยิ่งกว่าอุณหพลศาสตร์ โดยอธิบายถึงการสะสมจำนวนอนุภาคขนาดใหญ่ และตีความพารามิเตอร์ต่างๆ ในอุณหพลศาสตร์ (เชิงมหภาค) ในฐานะค่าเฉลี่ยทางสถิติของพารามิเตอร์ของอนุภาคในเชิงจุลภาค
ในการศึกษาฟิสิกส์เชิงสถิติ สามารถตีความคำนิยามอุณหภูมิในอุณหพลศาสตร์ว่า เป็นการวัดพลังงานเฉลี่ยของอนุภาคในแต่ละองศาอิสระในระบบอุณหพลศาสตร์ โดยที่อุณหภูมินั้นสามารถมองเป็นคุณสมบัติเชิงสถิติ ดังนั้นระบบจึงต้องประกอบด้วยปริมาณอนุภาคจำนวนมากเพื่อจะสามารถบ่งบอกค่าอุณหภูมิอันมีความหมายที่นำไปใช้ประโยชน์ได้ ในของแข็ง พลังงานนี้พบในการสั่นไหวของอะตอมของสสารในสภาวะสมดุล ในแก๊สอุดมคติ พลังงานนี้พบในการเคลื่อนไหวไปมาของอนุภาคโมเลกุลของแก๊ส
ไฟล์:Translational motion.gif